การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ITA

 

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน 

ของเทศบาลตำบลโพธิ์ทอง  ประจำปีงบประมาณ 2561

(Integrity & Transparency Assessment: ITA)

 

 1. ดัชนีความโปร่งใส

ตัวชี้วัดที่ 1.1 การเปิดเผยข้อมูล

 

แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence – Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT)

EB1 (1) หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการ กลไก หรือการวางระบบในการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะ ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน

 1. แนวปฏิบัติในการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะ 

EB1 (2) หน่วยงานมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน

1. วิสัยทัศน์/ พันธกิจ

2. อำนาจหน้าที่ของเทศบาล

3. ประกาศจัดตั้ง

4. โครงสร้างองค์กร

5. ผู้บริหารเทศบาล

6. สมาชิกสภาเทศบาล

7. พนักงานเทศบาล

8. แผนพัฒนา/ งบประมาณ

9. การจัดซื้อ/จัดจ้าง

10. แผนพัฒนาบุคลากร

 

ตัวชี้วัดที่ 1.2 การมีส่วนร่วม

 

แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์

(Evidence – Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT)

EB2 (1) หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการ กลไก หรือการวางระบบให้ภาคประชาชนหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน

 1. ประกาศ มาตรการ กลไกในการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

 

EB2 (2) หน่วยงานมีการปฏิบัติตามมาตรการ กลไก หรือการวางระบบให้ภาคประชาชน หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน

 

 

 

ตัวชี้วัดที่ 1.3 การจัดซื้อจัดจ้าง

 

แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์

(Evidence – Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT)

EB3 (1) หน่วยงานมีการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี (ที่ผ่านมา)

การวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 

EB3 (2) หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการ กลไก หรือการวางระบบในการดำเนินการเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง

 

 

EB3 (3) หน่วยงานมีการเผยแพร่แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี (มาตรา 11 พรบ. การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560)

  

แผนจัดหาพัสดุ

การจัดซื้อ/จัดจ้าง

รายงานการจัดซื้อ จัดจ้าง

EB3 (4) หน่วยงานมีการเผยแพร่ บันทึกรายละเอียดวิธีการและขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างอย่างเป็นระบบ (มาตรา 12 พรบ. การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560)

 

 

 

2. ดัชนีความพร้อมรับผิด

ตัวชี้วัดที่ 2.1 การดำเนินงานตามภารกิจ

 

แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์

(Evidence – Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT)

EB4 (1) หน่วยงานมีการเผยแพร่แผนปฏิบัติราชการประจำปี

 1. แผนดำเนินงานประจำปี 2560

2. แผนการดำเนินประจำปี 2561

 

EB4 (2) หน่วยงาน  มีการเผยแพร่รายงานการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี (ที่ผ่านมา)

 

EB4 (3) หน่วยงาน การเผยแพร่การกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี

 

 

ตัวชี้วัดที่ 2.2 การปฏิบัติงานตามหน้าที่

 

แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์

(Evidence – Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT)

EB5 หน่วยงาน มีการกำหนดมาตรการ กลไก หรือการวางระบบในการบริหารผลการปฏิบัติงานและการดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำ

 1. ประกาศมาตรการในการบริหารผลการปฏิบัติงานผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำ

 

 

ตัวชี้วัดที่ 2.3 เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร

 

แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์

(Evidence – Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT)

EB6 หน่วยงาน มีการเผยแพร่เจตจำนงสุจริตของผู้บริหารต่อสาธารณชน

 1. ประกาศการแสดงเจตจำนงสุจริตด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการบริหารงาน

 

ตัวชี้วัดที่ 2.4 การจัดการเรื่องร้องเรียน

 

 

แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์

(Evidence – Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT)

EB7 หน่วยงาน มีการกำหนดมาตรการ กลไก หรือการวางระบบในการจัดการเรื่องร้องเรียนของหน่วยงาน

 1. เจ้าหน้าที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์เทศบาล 

 

 

  1. ดัชนีความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน

ตัวชี้วัดที่ 3.1 การรับสินบน

 

แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์

(Evidence – Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT)

EB8 หน่วยงาน มีการกำหนดมาตรการ กลไก หรือการวางระบบในการป้องกันการรับสินบน

 1. ประกาศมาตรการป้องกันการรับสินบนของเทศบาลตำบลโพธิ์ทอง

 

 

 

  1. ดัชนีวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร

ตัวชี้วัดที่ 4.1 การเสริมสร้างวัฒนธรรมสุจริต

 

แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์

(Evidence – Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT)

EB9 หน่วยงาน มีการเสริมสร้างวัฒนธรรมและค่านิยมสุจริตและการต่อต้านการทุจริตในหน่วยงาน

 

 

ตัวชี้วัดที่ 4.2 การป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน

 

แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์

(Evidence – Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT)

EB10 (1) หน่วยงานมีการวิเคราะห์ความเสี่ยง และการจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงาน

 รายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน

EB10 (2) หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการ กลไก หรือการวางระบบในการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงาน

 ประกาศ และคู่มือการปฏิบัติงานเพื่อการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน

 

ตัวชี้วัดที่ 4.3 แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต

 

แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์

(Evidence – Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT)

EB11 (1) หน่วยงานมีการจัดทำแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตหรือแผนที่เกี่ยวข้อง

 

EB11 (2) หน่วยงานมีการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต หรือแผนที่เกี่ยวข้อง

 

 

  1. ดัชนีคุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน

ตัวชี้วัดที่ 5.1 มาตรฐานและความเป็นธรรมในการปฏิบัติงานและการให้บริการ

 

แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์

(Evidence – Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT)

EB12 (1) หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการ กลไก หรือการวางระบบในการตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตามคู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน

 1. คู่มือกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงา

 

EB12 (2) หน่วยงานมีการเผยแพร่กระบวนการอำนวยความสะดวกหรือการให้บริการประชาชน ด้วยการแสดงขั้นตอน ระยะเวลาที่ใช้ (เฉพาะหน่วยงานที่มีภารกิจให้บริการประชาชน อนุมัติ หรืออนุญาต)

 1. คู่มือสำหรับประชาชนตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก

 2. รวมมาตรฐานการบริหารและบริการสาธารณะ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ดัชนีข้อมูลข่าวสารของราชการ

 

ข้อมูลข่าวสารตาม มาตรา 7

มาตรา 7(1) - โครงสร้างองค์กร

 - การจัดตั้งองค์กร

มาตรา 7(2)  - อำนาจหน้าที่

มาตรา 7(3)  - สถานที่ติดต่อเทศบาลตำบลโพธิ์ทอง

มาตรา 7(4)  - กฏ มติ คณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้อง

 ข้อมูลข่าวสารตาม มาตรา 9

มาตรา 9(1)  - ผลการพิจารณาหรือคำวิจิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชนฯ

- รายงานการจัดซื้อ จัดจ้าง

มาตรา 9(2)  - นโยบายหรือการตีความที่ไม่เข้าข่ายต้องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาตามมาตรา ๗

มาตรา 9(3)  - แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจำปี ของปีที่กำลังดำเนินการ

- แผนจัดหาพัสดุ

- แผนพัฒนา/ งบประมาณ

- แผนพัฒนาบุคลากร

- เทศบัญญัติตำบล

มาตรา 9(4)  - คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่ของเอกชน

คู่มือกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน 

มาตรา 9(5)  - สิ่งพิมพ์ที่อ้างถึง ม. 7 วรรคสอง

มาตรา 9(6)  - สัญญาสัมปทาน ผูกขาด ร่วมทุน

มาตรา 9(7)  - มติ ครม. หรือมติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย หรือ มติ ครม.

มาตรา 9(8)  - การประกาศประกวดราคา สอบราคาฯ

- การจัดซื้อ/จัดจ้าง

มาตรา 9(8)  - สรุปผลการจัดซื้อ/จ้าง

รายงานการจัดซื้อ จัดจ้าง

มาตรา 9(8)  - สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

มาตรา 9(8)  - เกณฑ์มาตรฐานความโปร่งใสและตัวชี้วัดความโปร่งใส

- การป้องกันการทุจริต

- การมาตรฐานให้บริการ

- ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์

มาตรา 9(8)  - งานวิจัยที่ใช่เงินงบประมาณ

 

 


 

สิทธิการรับรู้ของประชาชน 
          พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 เป็นกฎหมายรองรับ "สิทธิได้รู้" ของประชาชน โดยกำหนดสิทธิข้อมูลข่าวสารของราชการ และกำหนดหน้าที่ของหน่วยงานรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้ปฏิบัติตามกฎหมาย เพื่อรองรับและคุ้มครองสิทธิของประชาชนไปพร้อมกัน โดยมีแนวคิดหลักการเพื่อ 

          1. ให้ประชาชนมีโอกาสรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการต่างๆ ของรัฐ โดยกำหนดข้อยกเว้นให้ชัดเจน เพื่อให้ประชาชนมีสิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสาร เพื่อการมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐให้เป็นไปอย่างโปร่งใส อันเป็นหลักการพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาสังคมประชาธิปไตย 

          2. รองรับสิทธิของประชาชนในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการที่อยู่ในครอบครองของหน่วยงานรัฐ ได้แก่ 
          - สิทธิได้รู้ข้อมูลข่าวสารที่หน่วยงานของรัฐนำลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา 
          - สิทธิในการตรวจดูข้อมูล 
          - สิทธิในการขอข้อมูลข่าวสารอื่นใดของราชการนอกจากข้อมูลที่ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา หรือจัดไว้ให้ประชาชนได้ตรวจดู 
          - สิทธิในการขอรับสำเนาหรือขอให้รับรองสำเนาถูกต้อง 
          - สิทธิในการขอดูหรือแก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตนจากหน่วยงานของรัฐ 
          - สิทธิการคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของตนภายในเวลาที่กำหนด 
          - สิทธิในการร้องเรียน 
          - สิทธิในการอุทธรณ์ 

          3. ข้อมูลข่าวสารของราชการเกือบทั้งหมดหรือส่วนใหญ่ จะต้องสามารถเปิดเผยได้ ภายใต้หลักการที่ว่า"เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น" โดยยกเว้นจะมีได้เฉพาะในกรณีที่มีกฎหมายกำหนดว่าไม่ต้องเปิดเผยเท่านั้น

 

การแจ้งปัญหาการใช้งานเว็บไซต์

 

                                เทศบาลตำบลโพธิ์ทอง ได้ดำเนินการจัดทำแบบฟอร์มการแจ้งปัญหา, ข้อขัดข้อง, สิ่งต้องการให้แก้ไข, ปรับปรุง,

สิ่งที่ต้องพัฒนา, แนวทาง, สิ่งแนะนำ หรือร้องเรียน ที่เกี่ยวกับการใช้งานเว็บไซต์ เทศบาลตำบลโพธิ์ทอง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด

 

 

** ขอบคุณสำหรับคำแนะนำ ทีมงานพร้อมน้อมรับฟัง เพื่อการพัฒนา ปรับปรุง เว็บไซต์ เทศบาลตำบลโพธิ์ทอง ให้ดียิ่งขึ้นต่อไป **

 

 

 

** สามารถกรอกแบบฟอร์มได้ตามลิงค์นี้   โปรดคลิก **

 

 

 


 

 

เจ้าหน้าที่ดูแลเว็บไซต์

จ่าเอกสุรเมธ ทองด้วง
หัวหน้าฝ่ายธุรการ
E-mail :  This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

ภูมิปัญญาท้องถิ่น พานบายศรี บ้านโพนทองน้อน หมู่ที่ 2

ภูมิปัญญาท้องถิ่นชาวบ้านในเขตเทศบาลตำบลโพธิ์ทอง

ประจําปีงบประมาณ 2565

 

พานบายศรี บ้านโพนทองน้อน หมู่ที่ 2 ตำบลโพธิ์ทอง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด

 จัดแสดงและจําหน่ายสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนในงาน กิจกรรม โครงการต่างๆ เพื่อประชาสัมพันธ์ของดี

มีคุณภาพ จากตําบลโพธิ์ทอง ส่งเสริมให้ประชาชนมีอาชีพ สร้างรายได้

 

 

อ่านเพิ่มเติม: ภูมิปัญญาท้องถิ่น พานบายศรี บ้านโพนทองน้อน หมู่ที่ 2

ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทอผ้าจากใยไหม บ้านนาทม หมู่ที่ 5

ภูมิปัญญาท้องถิ่นชาวบ้านในเขตเทศบาลตำบลโพธิ์ทอง

ประจําปีงบประมาณ 2565

การทอผ้าจากใยไหม บ้านนาทม หมู่ที่ 5 ตำบลโพธิ์ทอง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด

 

จัดแสดงและจําหน่ายสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนในงาน กิจกรรม โครงการต่างๆ เพื่อประชาสัมพันธ์ของดี

มีคุณภาพ จากตําบลโพธิ์ทอง ส่งเสริมให้ประชาชนมีอาชีพ สร้างรายได้

 

อ่านเพิ่มเติม: ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทอผ้าจากใยไหม บ้านนาทม หมู่ที่ 5

ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมอลำบ้านนาทม หมู่ที่ 5

ภูมิปัญญาท้องถิ่นชาวบ้านในเขตเทศบาลตำบลโพธิ์ทอง

ประจําปีงบประมาณ 2565

 

ชมการแสดงภูมิปัญญาชาวบ้าน หมอลำบ้านนาทม หมู่ที่ 5 ตำบลโพธิ์ทอง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด

 

 

 

แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตำบลโพธิ์ทอง

แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตำบลโพธิ์ทอง

************

๑.ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีบ้านดอนยานาง หมู่ที่ ๑๕ ตำบลโพธิ์ทอง อำเภอโพนทอง

ศูนย์การเรียนรรู้เกษตรอินทรีและฟาร์มชุมชน ที่เปิดพื้นที่ให้ทุกคนได้เข้ามาเรียนรู้และสัมผัสวิถีการเกษตรอย่างแท้จริง ภายในมีฐานกิจกรรมสนุกมากมาย ปลูก ข้าวอินทรีย์ ปลูกผักปลอดสารพิษ ฯ

 

สถานที่ตั้ง : หมู่ ๑๕ บ.ดอนยานาง ต.โพธิ์ทอง  อ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด ติดต่อ/ประสานงาน ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 15 ต.โพธิ์ทอง

อ่านเพิ่มเติม: แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตำบลโพธิ์ทอง

แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ตำบลโพธิ์ทอง

 

 

แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม

 

วัดโพธิ์ร้อยต้น สังกัดมหานิกาย เลขที่ ๑ หมู่ที่ ๑ บ้านโพธิ์ร้อยต้น ตำบลโพธิ์ทอง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด รหัสไปรษณีย์ ๔๕๑๑๐ วัดโพธิ์ร้อยต้นตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ ๑ เดือนพฤษภาคม ปีพ.ศ.๒๔๙๑ สังกัดฝ่ายมหานิกาย มีเนื้อที่ทั้งหมดตาม ๓ ก. ๒๒ ไร่  ๑ งาน ๙๓ ตารางวา เดิมทีที่แห่งนี้เป็นดอนเจ้าปู่  คนเฒ่าคนแก่เล่าว่า  ประมาณ  ๓๐๐ กว่าปี(๒๕๔๙) มีต้นโพธิ์ใหญ่อยู่ต้นหนึ่งขนาด ๕ คนโอบรอบมีต้นโพธิ์ขนาดเท่าลำตัว เท่าโคนขาเกิดขึ้นตามรากของต้นใหญ่นั้นโดยรอบกินเนื้อที่ประมาณสองไร่นับดูได้ร้อยต้นพอดี ชาวบ้านจึงเรียกว่าดอนโพธิ์ร้อยต้น นอกจากนั้นมีต้นมะม่วง ต้นมะขามขนาดใหญ่ และไม้นานาพรรณเกิดขึ้นหนาทึบเต็มบริเวณเนื้อที่ยี่สิบกว่าไร่ ไม่มีใครกล้ามาตัดต้นไม้  หรือแม้แต่จะเข้ามาบริเวณนี้ 

 

  

ถานที่ตั้ง : วัดโพธิ์ร้อยต้น สังกัดมหานิกาย ลขที่ ๑ หมู่ที่ ๑ บ้านโพธิ์ร้อยต้น ตำบลโพธิ์ทอง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ติดต่อ/ประสานงาน

--------------------------------------

 

แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ตำบลโพธิ์ทอง

 

แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ

 

เมื่อป่าโคกคำปลากั้งถูกบุกรุกลักลอบตัดไม้ และจับจองพื้นที่เพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจไปถึง 240 ไร่ กลุ่มผู้นำชุมชนจึงหาแนวทางแก้ปัญหา เลือกวิธีเจรจาเพื่อให้ผู้บุกรุกคืนพื้นที่ ทำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างผู้บุกรุกกับผู้รักษาป่า แต่ด้วยศรัทธาที่มีต่อพระ ความเชื่อเรื่องผี สามารถแปร  เป็นรูปแบบการจัดการป่าที่สร้างแรงจูงใจให้ผู้คน 18 หมู่บ้านในตำบลโพธิ์ทอง หันมาปลูกป่าในพื้นที่ว่างได้ถึง 100,000 ต้น พร้อมสร้างชุมชนเข้มแข็งด้วยการจัดการหนี้สินชุมชน ก่อตั้งสถาบันการเงินทุกหมู่บ้าน สานกิจกรรมด้านสังคมให้เข้ากับเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ทำให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเอง และจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างเป็นระบบ

 

 

 

  

 

แผ่นพับประชาสัมพันธ์

 

เลขที่ ๑ หมู่ที่ ๑ บ้านโพธิ์ร้อยต้น ตำบลโพธิ์ทอง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ติดต่อ/ประสานงาน