ดัชนีข้อมูลข่าวสารของราชการ

 

ข้อมูลข่าวสารตาม มาตรา 7

มาตรา 7(1) - โครงสร้างองค์กร

 - การจัดตั้งองค์กร

มาตรา 7(2)  - อำนาจหน้าที่

มาตรา 7(3)  - สถานที่ติดต่อเทศบาลตำบลโพธิ์ทอง

มาตรา 7(4)  - กฏ มติ คณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้อง

 ข้อมูลข่าวสารตาม มาตรา 9

มาตรา 9(1)  - ผลการพิจารณาหรือคำวิจิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชนฯ

- รายงานการจัดซื้อ จัดจ้าง

มาตรา 9(2)  - นโยบายหรือการตีความที่ไม่เข้าข่ายต้องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาตามมาตรา ๗

มาตรา 9(3)  - แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจำปี ของปีที่กำลังดำเนินการ

- แผนจัดหาพัสดุ

- แผนพัฒนา/ งบประมาณ

- แผนพัฒนาบุคลากร

- เทศบัญญัติตำบล

มาตรา 9(4)  - คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่ของเอกชน

คู่มือกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน 

มาตรา 9(5)  - สิ่งพิมพ์ที่อ้างถึง ม. 7 วรรคสอง

มาตรา 9(6)  - สัญญาสัมปทาน ผูกขาด ร่วมทุน

มาตรา 9(7)  - มติ ครม. หรือมติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย หรือ มติ ครม.

มาตรา 9(8)  - การประกาศประกวดราคา สอบราคาฯ

- การจัดซื้อ/จัดจ้าง

มาตรา 9(8)  - สรุปผลการจัดซื้อ/จ้าง

รายงานการจัดซื้อ จัดจ้าง

มาตรา 9(8)  - สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

มาตรา 9(8)  - เกณฑ์มาตรฐานความโปร่งใสและตัวชี้วัดความโปร่งใส

- การป้องกันการทุจริต

- การมาตรฐานให้บริการ

- ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์

มาตรา 9(8)  - งานวิจัยที่ใช่เงินงบประมาณ

 

 


 

สิทธิการรับรู้ของประชาชน 
          พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 เป็นกฎหมายรองรับ "สิทธิได้รู้" ของประชาชน โดยกำหนดสิทธิข้อมูลข่าวสารของราชการ และกำหนดหน้าที่ของหน่วยงานรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้ปฏิบัติตามกฎหมาย เพื่อรองรับและคุ้มครองสิทธิของประชาชนไปพร้อมกัน โดยมีแนวคิดหลักการเพื่อ 

          1. ให้ประชาชนมีโอกาสรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการต่างๆ ของรัฐ โดยกำหนดข้อยกเว้นให้ชัดเจน เพื่อให้ประชาชนมีสิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสาร เพื่อการมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐให้เป็นไปอย่างโปร่งใส อันเป็นหลักการพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาสังคมประชาธิปไตย 

          2. รองรับสิทธิของประชาชนในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการที่อยู่ในครอบครองของหน่วยงานรัฐ ได้แก่ 
          - สิทธิได้รู้ข้อมูลข่าวสารที่หน่วยงานของรัฐนำลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา 
          - สิทธิในการตรวจดูข้อมูล 
          - สิทธิในการขอข้อมูลข่าวสารอื่นใดของราชการนอกจากข้อมูลที่ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา หรือจัดไว้ให้ประชาชนได้ตรวจดู 
          - สิทธิในการขอรับสำเนาหรือขอให้รับรองสำเนาถูกต้อง 
          - สิทธิในการขอดูหรือแก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตนจากหน่วยงานของรัฐ 
          - สิทธิการคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของตนภายในเวลาที่กำหนด 
          - สิทธิในการร้องเรียน 
          - สิทธิในการอุทธรณ์ 

          3. ข้อมูลข่าวสารของราชการเกือบทั้งหมดหรือส่วนใหญ่ จะต้องสามารถเปิดเผยได้ ภายใต้หลักการที่ว่า"เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น" โดยยกเว้นจะมีได้เฉพาะในกรณีที่มีกฎหมายกำหนดว่าไม่ต้องเปิดเผยเท่านั้น